1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
|
<!DOCTYPE html PUBLIC "-//W3C//DTD XHTML 1.0 Strict//EN" "http://www.w3.org/TR/xhtml1/DTD/xhtml1-strict.dtd"> <html xmlns="http://www.w3.org/1999/xhtml" xml:lang="en" lang="en"> <title>เบญจพรกรุ๊ป Benjabhorn Group</title> <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"> <link href="style.css" rel="stylesheet" type="text/css"> <style type="text/css"> <!-- body { background-image:url(images/bg-inside.jpg); background-position:top; background-repeat:repeat-x; } #apDiv1 { position:absolute; left:422px; top:136px; width:822px; height:310px; z-index:1; } #apDiv2 { position:absolute; left:130px; top:160px; width:1000px; height:50px; z-index:1; } --> </style></head> <body leftmargin="0" topmargin="0" marginwidth="0" marginheight="0"> <!--<div id="apDiv1"> <iframe src="slide-project/index.html" width="800" height="300" frameborder="0" scrolling="no"></iframe></div> --> <center> <?php include("header.php"); ?> <table width="1000" border="0" align="center" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tr> <td height="36" align="left" valign="top"><img src="images/2.jpg" alt="" /></td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top"><p class="txt30">HOME KNOWLEDGES / ความรู้เรื่องบ้าน</p> <hr size="2" noshade="noshade" /> <p> </p></td> </tr> <tr> <td height="35" align="left" valign="top" class="txt30"><table width="95%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0"> <tr> <td width="45%" class="h-title"><strong>Roof of The House รู้หน้า รู้หลัง (คา)</strong></td> <td width="55%" class="h-title"> </td> </tr> <tr> <td height="251" align="center" valign="top"><img src="images/idea-house-01-01.jpg" width="400" height="350" class="border" /></td> <td align="left" valign="top"><p><strong>“หลังคา” เป็นส่วนประกอบหนึ่งของอาคารที่มีความสำคัญมาก ทั้งในเรื่องของการป้องกันความร้อน ฝน ลม และความหนาวเย็น รวมทั้งยังเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างเอกลักษณ์ให้อาคารได้เป็นอย่างดี โครงสร้างและวัสดุที่นำมาทำเป็นหลังคาควรเลือกชนิดที่ทนไฟ ทนทานต่อสภาพอากาศภายนอก และเป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี </strong></p> <p><strong>โดยทั่วไปบริเวณใต้หลังคาควรมีพื้นที่เพียงพอต่อการติดตั้งอุปกรณ์ของงานระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ โดยมีระยะห่างระหว่างฝ้ากับหลังคาอย่างน้อย 30 เซนติเมตรขึ้นไป </strong></p> <p><strong><br /> </strong> สำหรับรูปแบบของหลังคาที่เรามักเห็นและนิยมกัน ได้แก่ หลังคาจั่ว (Gable Roof) หลังคาปั้นหยา (Hip Roof) หลังคาคอนกรีตเรียบ (Flat Slab Roof) เป็นต้น การพิจารณาว่าจะเลือกใช้หลังคาแบบใดขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง รวมทั้งรูปแบบของอาคารด้วยเช่นกัน </p> <p> <strong>สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการเลือกรูปแบบหลังคาที่เหมาะกับบ้านในเมืองไทย<br /> </strong> 1. ควรมีชายคายื่นออกมามากพอที่จะป้องกันแสงแดดและไม่ให้ฝนสาดเข้ามาทางหน้าต่างบ้านทั้งสี่ด้าน โดยเฉพาะด้านทิศตะวันตกซึ่งมีแดดจัดที่สุด <br /> 2. หลังคาไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป และควรมีความลาดชันมากพอที่จะทำให้น้ำฝนไหลลงได้สะดวก เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำรั่วซึมหลังคาได้ง่าย <br /> 3. รูปแบบของหลังคาไม่ควรซับซ้อนมากเกินไป เพราะจะมีปัญหาเรื่องการรั่วซึมของน้ำตรงรอยต่อของหลังคาได้<br /> 4. พื้นที่ใต้หลังคาต้องใหญ่พอที่จะให้มวลอากาศร้อนซึ่งลอยสูงไม่ส่งผ่านไปยังห้องด้านล่างได้เร็ว และต้องมีการระบายอากาศเพื่อให้อากาศร้อนใต้หลังคาถ่ายเทออกนอกบ้านได้ โดยอาจทำช่องระบายอากาศที่หน้าจั่วของหลังคาหรือฝ้าที่ชายคา และอาจติดฉนวนกันความร้อนบริเวณใต้หลังคาร่วมด้วย ก็จะช่วยให้บ้านมีสภาวะน่าสบายมากขึ้น ปัจจุบันฉนวนกันความร้อนมีให้เลือกใช้หลายแบบ อาทิ แบบใยแก้ว และแบบพอลิเอทีลีน </p> <p><br /> <strong>หลักการออกแบบหลังคาที่ป้องกันการรั่วซึมได้ดี <br /> </strong>- ใช้หลังคาทรงสูง มีความชันตั้งแต่ 30 - 45 องศา <br /> - อย่านำหลังคาหลายชนิดมาประกอบกัน เพราะรอยต่อที่เกิดขึ้นคือจุดอ่อนที่อาจทำให้เกิดการรั่วซึมของน้ำฝน <br /> - โครงหลังคาที่ไม่ได้มาตรฐานตามรูปลักษณ์ของหลังคามีโอกาสมากที่จะเกิดการแอ่นตัว เป็นเหตุให้น้ำรั่วซึมลงมาได้ จึงต้องพิจารณาถึงขนาดและความแข็งแรงของโครงสร้างด้วย<br /> - องค์ประกอบต่างๆของหลังคาเป็นจุดอ่อนที่ฝนจะไหลผ่านได้ จึงควรออกแบบองค์ประกอบนั้นๆให้กันน้ำฝนได้<br /> - หลังคาแบนใช้ได้กับบ้านทุกแบบ แต่หลังคาประเภทนี้มีการถ่ายเทน้ำได้ช้า รอยเจาะท่อระบายน้ำต่างๆ เป็นจุดอ่อนที่จะทำให้เกิดการรั่วซึมได้ง่าย รวมถึงแนวเชื่อมชนกับโครงสร้างต่างๆก็เป็นจุดอ่อนที่น้ำจะขังและค่อยๆซึมผ่านตัวพื้นหลังคาลงไปได้ </p> <p></p></td> </tr> <tr> <td height="71"><p> </p> <p> </p> </td> <td valign="bottom">ที่มา : บ้านและสวน</td> </tr> </table></td> </tr> <tr> <td align="right" valign="top"><map name="Map" id="Map2"> <area shape="rect" coords="229,2,299,30" href="#" alt="" /> <area shape="rect" coords="306,2,383,30" href="type.php" alt="" /> </map></td> </tr> <tr> <td height="73" align="left" valign="bottom" ><a href="knowledge.php">« กลับหน้าความรู้เรื่องบ้านทั้งหมด</a></td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top" class="txt30"> </td> </tr> </table> </center> <?php include("footer.php"); ?> </body> </html>
|